ในทั่วโลก ผู้คนมากกว่า 800 ล้านคน ยังคงอยู่ได้ด้วยเงินน้อยกว่า 1.25 ดอลลาห์ต่อวัน หลายคนยังขาดการเข้าถึงอาหาร น้ำดื่มที่สะอาดและสุขอนามัยที่เพียงพอ การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างรวดเร็วในประเทศ เช่น จีนและอินเดีย ได้ช่วยยกระดับประชากรออกจากความยากจน แต่ความเติบโตในเรื่องดังกล่าวก็ยังไม่มีความสม่ำเสมอเท่าใดนัก ประชากรผู้หญิงมีสัดส่วนที่อยู่ในความยากจนมากกว่าผู้ชาย เนื่องจากการเข้าถึงที่ไม่เท่ากันในเรื่องค่าแรงงาน การศึกษาและทรัพย์สิน
SDGs มีเป้าหมายที่จะขจัดความยากจนในทุกรูปแบบให้แล้วเสร็จภายในปี 2573 ซึ่งเป้าหมายดังกล่าวเกี่ยวข้องกับการกำหนดกลุ่มเป้าหมายที่อาศัยอยู่ในสถานการณ์ที่มีความเสี่ยงในการเข้าถึงทรัพยากรและการบริการขั้นพื้นฐาน รวมถึงช่วยเหลือชุมชนที่ได้รับผลกระทบจากความขัดแย้งและภัยพิบัติที่เกี่ยวข้องกับสภาพภูมิอากาศ
หัวข้อ | รายละเอียด |
---|---|
ชื่อกิจกรรม/โครงการ | การใช้โพรไบโอติกและยาปฏิชีวนะในการผลิตสัตว์อย่างยั่งยืน |
ที่มาและความสำคัญ | - |
ช่วงเวลาที่จัดกิจกรรม/โครงการ | ธันวาคม 2561 - มีนาคม 2562 |
สถานที่จัดกิจกรรม/โครงการ | ห้องประชุมจูปิเตอร์ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพมหานคร |
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง/ผู้มีส่วนได้เสีย | คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล กรมปศุสัตว์ บริษัทเอกชน และสมาคมต่างๆ |
วัตถุประสงค์ | - |
รูปแบบการดำาเนินกิจกรรม/โครงการ | เป็นการจัดสัมมนาภาคบรรยายและการเสวนา |
กลุ่มเป้าหมาย/กลุ่มผู้ร่วมกิจกรรม | - |
จำานวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม | - |
ผลลัพธ์ที่นาไปใช้ประโยชน์จากกิจกรรม | ผู้เข้าร่วมสัมมนาได้รับทราบถึงทิศทางและนโยบายในการจัดการการดื้อยาต้านจุลชีพ สร้างการตระหนักรู้ในการใช้ยาปฏิชีวนะอย่าง
สมเหตุสมผล และนวัตกรรมใหม่เกี่ยวกับการใช้โพรไบโอติกสำหรับสัตว์ |
รูปภาพประกอบ | - |
SDG Goals ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ | - |